บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ =>
โปรแกรมคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
ประเภทของซอฟต์แวร์
มี 2 ประเภท คือ
1.ซอฟต์แวร์ระบบ =>
โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่เขียนเพื่อควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
(System Software)
-
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
(Operating System : OS)
หน้าที่หลักๆ ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ มีดังนี้
๐ การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์
๐ การจัดตารางงาน (Scheduling)
๐ การติดตามผลของระบบ (Monitoring)
๐ การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน (Multiprogramming)
๐ การจัดแบ่งเวลา (Time
Sharing)
๐ การประมวลผลหลายชุดคำสั่งพร้อมกัน (Multiprocessing)
-
โปรแกรมภาษา
(Language Software) แบ่งออกเป็น
3 แบบ คือ
๐ ภาษาเครื่อง (Machine
Language) เป็นภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีโครงสร้างและพื้นฐานเป็นเลขฐานสอง
และตัวสติง (Strings) ซึ่งเครื่องสามารถเข้าใจและพร้อมที่จะทำงานตามคำสั่งได้ในทันที
๐ ภาษาใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Language) จะใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมากคือ
ประกอบด้วย 2 ส่วน Op-Code และ
Operands
๐ ภาษาระดับสูง (High-Level
Language) ประกอบด้วยความเจริญทางด้านซอฟต์แวร์มีมากขึ้น
-
โปรแกรมยูทิลิตี้
(Utility Software) เป็นโปรแกรมที่ให้บริการต่างๆ
เช่น การจัดเรียงข้อมูลตามหลักใดหลักหนึ่ง (Sort)
เป็นต้น
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ => โปรแกรมเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานเฉพาะอย่างมี
2 ประเภท คือ
-
ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไปหรือซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
=> โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใช้งานในด้านใดด้านหนึ่ง
เช่น งานการพิมพ์ งานวาดภาพ เป็นต้น
-
ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
=> เป็นโปรแกรมที่ผลิตขึ้นมาเพื่อทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง
และไม่สามารถทำงานอื่นได้ เช่น โปรแกรมระบบบัญชี เป็นต้น
https://www.youtube.com/watch?v=zHpKxBgAwMg
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น